วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556

โครงสร้างโปรแกรมภาษา


โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Pascal
1.   ส่วนหัว (Heading)  ขึ้นต้นด้วยคำว่า PROGRAM ตามด้วยชื่อของโปรแกรม และจบบรรทัดด้วย ;
2.   ส่วนข้อกำหนด (Declaration part)  คือส่วนตั้งแต่ส่วนหัวไปจนถึงคำว่า BEGIN ของโปรแกรมหลัก และเป็นส่วนที่เรากำหนดค่าต่าง ๆ 
VAR รายชื่อตัวแปร : ประเภทของข้อมูล;
TYPE ชื่อของแบบ = ประเภทหรือค่าของข้อมูล;
CONST รายชื่อค่าคงที่ = ค่าที่กำหนด;
LABEL รายชื่อของ LABEL;
       ส่วนคำสั่งต่าง ๆ (Statement Part) เป็นส่วนสุดท้ายของโปรแกรม ขึ้นต้นด้วย “BEGIN” และปิดท้ายด้วย “END.”

โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
1.        ส่วนหัวของโปรแกรม  คำสั่ง #include <stdio.h>
2.        ส่วนของฟังก์ชั่นหลัก  คือ ฟังก์ชั่น main()ขอบเขตของฟังก์ชั่นจะถูกกำหนดด้วยเครื่องหมาย { และ }
3.        ส่วนรายละเอียดของโปรแกรม  คอมเมนต์ (comment)  มี 2 แบบคือ
 ¨ คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว ใช้เครื่องหมาย //
¨ คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* และ */

โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Basic
 CLS
                    PRINT “PLEASE ENTER A NUMBER”
                    INPUT NUMBER
                    DO WHILE NUMBER <> 999
                    SUM = SUM + NUMBER
                    vCOUNTER = COUNTER + 1
                    PRINT “PLEASE ENTER THE NEXT NUMBER”
                    INPUT NUMBER
                    LOOP
                    AVERAGE = SUM/COUNTER
                    PRINT “THE AVERAGE OF THE NUMBER IS”; AVERAGE
                    END

โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Assembly
สามารถใช้รูปแบบที่ต่างไปจากนี้ก็ได้ โดยใช้ blank เป็นตัวคั่น แต่ Name ต้องเริ่มต้นที่ Col.1 เสมอ และโดยใช้คำสั่ง ICTL
NAME  มีหลักเกณฑ์การตั้งชื่อ ดังนี้
1.       ตัวแรกของชื่อต้องเป็น A-Z หรือ @ # $
2.       ตัวถัดไปเป็น A-Z หรือ 0-9 ก็ได้
แต่ชื่อหนึ่งๆยาวได้ไม่เกิน 8 ตัวอักขระ
3.       ตัวแรกของชื่อต้องเริ่มต้นที่ Col.1 เสมอ
4.       ไม่มีช่องว่างหรือสัญลักษณ์พิเศษอื่นๆภายในชื่อ

PRINT NOGEN  pseudo-op สั่งไม่ให้พิมพ์ชุดของคำสั่งที่ดึงมาจาก Macro Library เพื่อให้สะดวกต่อการตรวจสอบโปรแกรม
EOJ Macro Instruction สั่งหยุดการ execute เพื่อส่ง Control กลับ O.S.
BALR Machine-op สั่งเก็บค่า address ของคำสั่งถัดไปไว้ใน Register หาก operand ตัวที่ 2 เป็น ศูนย์ จะไม่มีการ Branch ไปที่ใด
USING pseudo-op แจ้งการใช้ Base Register

โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Java
public class ชื่อคลาส
{
      public static void main(String[] agrs)
     {
          ประโยคคำสั่งต่างๆ ของโปรแกรม;
          ..................................................;

     }
}

ตัวอย่างโปรแกรมภาษาจาวา
ไฟล์ Example.java
class Example
{
     public static void main(String[] args)
    {
          String dataname = “Java Language“;
          System.out.println(“My name is OAK“);
          System.out.println(“OAK is a “ + dataname +“. “);
     }
}


โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cobol
working-storage section.
01 s   pic 99.
procedure division.
accept s.
if s > 50  display "pass".
if s <= 50 display "fail".
stop run.
working-storage section.
01 s   pic 99.
procedure division.
accept s.
if s > 50 
  display "pass"
else
  display "fail".
stop run.




วันพฤหัสบดีที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ระบบเลขฐาน


1.             ตารางเลขฐาน
เลขฐานสิบ
เลขฐานสอง
เลขฐานแปด
เลขฐานสิบหก
0
0000
0
0
1
0001
1
1
2
0010
2
2
3
0011
3
3
4
0100
4
4
5
0101
5
5
6
0110
6
6
7
0111
7
7
8
1000
10
8
9
1001
11
9
10
1010
12
A
11
1011
13
B
12
1100
14
C
13
1101
15
D
14
1110
16
E
15
1111
17
F


             2.เลขฐานอื่นๆ เป็นฐานสิบ
1111001012 =  48510
2FBC16  = 1222010
2868 = 19810
3. เลขฐาน 10 เป็นฐานอื่นๆ
08 = 10002
08 = 108
08 = 816